วันพฤหัสบดีที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2552

แจ้งจำนวนกลุ่มของนิสิตที่อาจารย์แต่ละท่านสามารถรับได้

สำหรับนิสิต CS รหัส 50 และ ICT รหัส 50 และรหัส 51 (ต่อเนื่อง)

ในปีการศึกษา 2552 นี้ อาจารย์ประจำสาขา CS และ MIS ทุกท่านสามารถรับนิสิตในทึ่ปรึกษา (โครงงานปริญญานิพนธ์) ได้ไม่เกินท่านละ 4 กลุ่ม

::ดังนั้น ให้นิสิตรีบติดต่ออาจารย์แต่ละท่าน เกี่ยวกับหัวข้อโปรเจคที่นิสิตสนใจ และให้อาจารย์เซ็นต์ลงในแบบฟอร์ม CS/MIS P01 (แบบตอบรับเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา) เพื่อยืนยันการตอบรับเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา

ช้าอดหมดสิทธิ์

วันเสาร์ที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2552

ดร.มนัสวี แก่นอำพรพันธ์

ดร.มนัสวี แก่นอำพรพันธ์
Tel:
Mail: jay@kaenampornpan.com
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
HCI
Mobile and Biquitous Computing
Wearable Computing
Context awareness
Technology of Future Mobile, PDA, TV, etc.

หัวข้องานวิจัย
Mobile and Ubiquitous Computing Applications
Smart Environments
User Interactions: gesture, speech, etc..

หัวข้อ Senior Project รหัส 49

หัวข้อ Senior Project ของนิสิตรหัส 49

คลิกเพื่อดู หัวข้อ Senior project

วันศุกร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2552

ดร.พัฒนพงษ์ วันจันทึก

ดร.พัฒนพงษ์ วันจันทึก


Tel: 0819559080
Mail: pwanch@msu.ac.th, pwanch@ccg.murdoch.edu.au
Web: http://ccg.murdoch.edu.au/index.php/Phatthanaphong_Wanchanthuek
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Bioinformatics
Computational Biology
Integrated Systems
High Performance Computing

หัวข้องานวิจัย
Bacterial genome sequencing and annotation
Annotating whole genomes via a computing GRID
Reverse vaccinology and Molecular Evolution
Web-based application in Bioinformatics
Genome-based metabolic network construction
Yeast systems biology

วันพฤหัสบดีที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2552

กรุณาช่วยตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับ Senior Project ด้วยครับ

นิสิตสาขา CS และ ICT กรุณาช่วยเข้ามาตอบแบบสอบถามด้วยนะครับ

คลิกเพื่อ ตอบแบบสอบถาม

ขอบคุณครับ
อ.โอฬาริก

วันอังคารที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2552

แข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (NSC) แห่งประเทศไทยครั้งที่ 11

แข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (NSC) แห่งประเทศไทยครั้งที่ 11
มหกรรมประกวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 หรือ งาน Thailand ICT Contest Festival 2009


สาขาบรรณารักษศาสตร์ และ สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ นำนิสิตเข้าร่วมมหกรรมประกวดผลงานเยาวชนคนไอทีจากทั่วประเทศ ภายใต้ชื่องาน มหกรรมประกวดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 หรือ งานThailand ICT Contest Festival 2009 ระหว่างวันที่ 6-8 กุมภาพันธ์ 2552 ณ รอยัลพารากอนฮอลล์ สยามพารากอน ซึ่งจัดขึ้นโดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค), สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

นิสิตสามารถคว้ารางวัลมาได้ ดังนี้
ชนะเลิศอันดับ 3 ประเภท : โปรแกรมเพื่อการประยุกต์ใช้งานสำหรับลีนุกซ์(นักศึกษา) ชื่อโครงการ : โปรแกรมระบบเฝ้าระวังและให้ภูมิคุ้มกันการปลอมแปลงโพรโทคอลเออาร์พี นิสิตเจ้าของผลงานคือ 1. นายธงชัย เจือจันทร์ 2. นายปิยวัจน์ ค้าสบาย นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์ ดร.สมนึก พ่วงพรพิทักษ์

ชนะเลิศอันดับที่ 1 ประเภท : Mobile Application ชื่อโครงการ : ไปรษณีย์เคลื่อนที่ นิสิตเจ้าของผลงาน คือ นายนพวิชัย บุตตะกะ นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาเทคโนโลยีการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์จักกฤษณ์ แสงแก้ว คณะวิทยาการสารสนเทศ



NSC

NSC

NSC

แข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (NSC) แห่งประเทศไทยครั้งที่ 9

รางวัลอันดับที่ 3 แข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แห่งประเทศไทยครั้งที่ 9 (The Ninth National Software Contest: NSC 2007) ประเภทโปรแกรม Open Source Application Extension (ปี พ.ศ. 2550)

นางสาววิไลลักษณ์ กาประสิทธิ์ และนายวีระพจน์ ทมานนท์ นิสิตสาขาวิทยากาคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 4 คณะวิทยาการสารสนเทศมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นตัวแทนแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แห่งประเทศไทยครั้งที่ 9 (The Ninth National Software Contest: NSC 2007) ประเภทโปรแกรม Open Source Application Extension ได้รางวัลอันดับที่ 3 ผลงานที่ได้รับรางวัล คือ ระบบเว็บเมล์แบบปลอดภัยพร้อมภาษาไทยเต็มรูปแบบ (Security Integrity Authentication Mail – Thai Language Enable Version 2) เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2550


NSC

NSC

NSC

แข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (NSC) แห่งประเทศไทยครั้งที่ 10

แข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (NSC) แห่งประเทศไทยครั้งที่ 10

นิสิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการคว้ารางวัลจากการประกวดผลงานรอบชิงชนะเลิศในงาน NSC ครั้งที่10 ณ สยามพารากอน กรุงเทพมหานคร เพื่อชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

นิสิตสามารถคว้ารางวัลมาได้ จำนวน 3 รางวัล คือ
รางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง 1 รางวัล และ
รางวัลชมเชย 2 รางวัล

NSC NSC


Gallery รูปภาพ
http://it.msu.ac.th/show_gallery.php?ab_id=81

Thai OCR

Thai OCR

โอซีอาร์ (อังกฤษ: OCR - Optical character recognition) หรือ เครื่องจำอักขระด้วยแสง คือซอฟต์แวร์อย่างหนึ่งที่ออกแบบเพื่อให้แปลความหมายที่ปรากฏในไฟล์รูปภาพ ไปเป็นข้อมูลที่สามารถประมวลผลได้ โดยปกติการนำเข้ารูปภาพเพื่อเข้าสู่กระบวนการแปลสามารถใช้เครื่องสแกนเนอร์หรือกล้องดิจิตัล หรืออุปกรณ์ที่ออกแบบมาเฉพาะทาง โอซีอาร์เริ่มมีขึ้นโดยเป็นโครงการของการตรวจสอบในระบบปัญญาประดิษฐ์และการมองเห็นของเครื่องจักร และมีการวิจัยต่อไปโดยมุ่งประเด็นไปที่การใช้โอซีอาร์เป็นเครื่องมือในการพิสูจน์ เช่น พิสูจน์อักษร ลายมือ ลายนิ้วมือ ใบหน้า ดวงตา เป็นต้น

Optical character recognition หรือที่เรียกกันสั้นๆว่า OCR (โอซีอาร์) : คือ การแปลงไฟล์ภาพเอกสาร ให้เป็นไฟล์ข้อความโดยอัตโนมัติ ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์งาน

ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้โปรแกรม OCR
-ประหยัดพื้นที่จัดเก็บข้อมูล เนื่องจากไฟล์ข้อความมีขนาดเล็กกว่าไฟล์ภาพมาก
-สะดวกในการปรับแต่งและแก้ไขเอกสาร เนื่องจากไฟล์ข้อความสามารถปรับแต่งและแก้ไขได้ง่ายกว่าไฟล์ภาพ



ที่มาของข้อมูล:
http://thaiocr.phaisarn.com/ocr.html
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C

แหล่งข้อมูลอื่น:
http://www.ccs.neu.edu/home/feneric/charrec.html
http://en.wikipedia.org/wiki/Optical_character_recognition
http://www.dontveter.com/basisofai/char.html

Image Processing

Image Processing

การประมวลผลภาพเป็นกระบวนการจัดการและวิเคราะห์สารสนเทศของรูปภาพ โดยใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล ซึ่งกระบวนการต่าง ๆ มีอยู่ด้วยกันหลายอย่าง ยกตัวอย่างเช่น

การแปลงข้อมูลรูปภาพ (Image Transformation)
การนิยามภาพ (Image Description)
การกรองภาพ (Image Filters)
การคืนภาพ (Image Restorlation)
การปรับปรุงคุณภาพของภาพ (Image Enhancement)
การแบ่งภาพและการหาขอบภาพในวัตถุ (Image Segmentation and EdgDeTection)
การบีบอัดข้อมูลภาพ (Image Complession)

แหล่งที่มาของข้อมูล:
http://imageprocessingblog.blogspot.com/2007/09/image-processing.html

แหล่งข้อมูลอื่น:
http://imageprocessingblog.blogspot.com/2007/09/image-processing.html
http://books.google.com/books?id=8uGOnjRGEzoC&dq=image+processing&printsec=frontcover&source=bl&ots=8tTmXz1Y3e&sig=hgDlxGegTfZV3I0Os4F6kIZGntU&hl=en&ei=NAjkSb-aNcGBkQXXzPTVCw&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=6

การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบ

การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบ (System Analysis and Design)

การวิเคราะห์และออกแบบระบบคือ วิธีการที่ใช้ในการสร้างระบบสารสนเทศขึ้นมาใหม่ในธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง หรือระบบย่อยของธุรกิจ นอกจากการสร้างระบบสารสนเทศใหม่แล้ว การวิเคราะห์ระบบช่วยในการแก้ไขระบบสารสนเทศเดิมที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้นด้วยก็ได้ การวิเคราะห์ระบบคือ การหาความต้องการ (Requirements) ของระบบสารสนเทศว่าคืออะไร หรือต้องการเพิ่มเติมอะไรเข้ามาในระบบและการออกแบบก็คือ การนำเอาความต้องการของระบบมาเป็นแบบแผนหรือเรียกว่าพิมพ์เขียว ในการสร้างระบบสารสนเทศนั้นให้ใช้ในงานได้จริง ผู้ที่ทำหน้านี้ก็คือ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis : SA)

ที่มาของข้อมูล:
http://www.bcoms.net/system_analysis/lesson1.asp

แหล่งข้อมูลอื่น:
http://www2.cs.science.cmu.ac.th/person/panipa/comp325/pssa1.ppt
http://course.eau.ac.th/course/Download/0520209/DFDs.ppt

การจัดการฐานข้อมูล

Database Management (การจัดการฐานข้อมูล)

การจัดการฐานข้อมูล (DATABASE MANAGEMENT) เป็นวิธีการที่ดีวิธีหนึ่งในขณะนี้ ในการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันกับหัวข้อใหญ่ทำให้เป็น ระบบ และจัดเป็นฐานสำหรับการค้นคืนข้อมูล การสรุปผล ทำนองเดียวกับการจัดการฐานข้อมูลภาพ (DIGITAL IMAGE MANAGEMENT) ที่จะช่วยเรียบเรียง จัดหมวดหมู่และกลุ่มความหมายของภาพให้เป็นระบบเพื่อความสะดวกในการค้นคว้า ค้นหาและนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในงานได้อย่างรวดเร็ว ในอดีตที่ไม่เคยมีการจัดเรียบเรียงหมวดหมู่ภาพ เวลาค้นหาภาพที่ต้องการเพียงภาพเดียว ก็ต้องวิ่งไปยังหอสมุดแห่งชาติ หรือห้องสมุดมหาวิทยาลัย เลือกค้นจากหนังสือเป็นพัน ๆ เล่มจนหนังสือเปื่อยคามือ และปวดกระบอกตา สมองล้าเหลือทน กว่าจะหาพบพาลจะหมดแรง เปลืองเวลาเป็นอย่างยิ่ง เพื่อความสะดวก ทุ่นแรงและเวลา จากระบบการหาข้อมูลภาพจากห้องสมุดก็จะพัฒนามาเป็นการจัดฐานข้อมูลภาพให้อยู่ในรูปของ สไลด์ (SLIDE) โดยมีการทำฉลากปิด (slide lable)ที่เป็นมาตรฐานสากล ซึ่งให้ข้อมูลที่สำคัญ แล้วเก็บไว้ในห้องสมุดสไลด์ (slide library) เมื่อต้องการใช้ภาพใดก็ดูดรรชนีหมวดคำที่กำหนด แล้วค้นหาได้เลย แต่ก็อาจมีข้อจำกัดบางประการในการใช้สืบค้นข้อมูล หรือในกรณีที่ผู้ใช้ภาพเดียวกันมีหลายคน การบริการให้ทั่วถึงและพร้อมเพรียงกันในเวลาเดียวกันย่อมไม่สามารถกระทำได้ อีกประการหนึ่ง ภาพมีการสูญหายไปได้ง่าย และ ฯลฯ ดังนั้นจึงมีการพัฒนานำฐานข้อมูลจากห้องสมุดสไลด์ป้อนเข้าสู่การจัดการฐานข้อมูลระบบดิจิตอล (Digital Database Management ) ช่วยทำให้การค้นคว้าสามารถทำได้สะดวกรวดเร็ว และหากมีการเขียนโปรแกรมการจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ ก็จะทำให้สามารถสืบค้นข้อมูลได้เพียงปลายนิ้วสัมผัส อีกทั้งผู้ใช้ก็สามารถพิมพ์ออกมาใช้งานได้ด้วย และที่สำคัญ ด้วยระบบการทำงานนี้ ผู้ใช้บริการสามารถใช้ได้ตามอัธยาศัยโดยไม่ถูกจำกัดด้วยเงื่อนไขของเวลาและสถานที่

ที่มาของข้อมูล:
http://www.archae.su.ac.th/StudentProj/spestud/spedatamanage.htm

แหล่งข้อมูลอื่น:
http://regelearning.payap.ac.th/docu/mk380/f4.2.htm
http://pioneer.chula.ac.th/~vduangna/2200199/frame2.html

ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ Neural Network

Neural Network

ระบบโครงข่ายประสาท (Neural Network) หรือ “โครงข่ายใยประสาทเสมือน (Artificial Neural Network: ANN)” หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่สามารถเลียนแบบการทำงานของสมองมนุษย์ได้ ด้วยการประมวลผลข้อมูลสารสนเทศ และองค์ความรู้ได้ในคราวละมากๆ

นอกจากนี้ ยังสามารถรับและจดจำสารสนเทศในรูปแบบที่เป็นประสบการณ์ได้ ทำให้สามารถเชื่อมโยงข้อเท็จจริงทั้งหลายเข้าด้วยกันเพื่อหาข้อสรุป และใช้ประสบการณ์ที่จัดเก็บไว้มาเรียนรู้และทำความเข้าใจว่า ข้อเท็จจริงใหม่ที่ได้รับเข้ามามีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร เพื่อทำการปรับปรุงองค์ความรู้ให้มีความทันสมัยเพื่อประโยชน์ในอนาคตNeural Network เป็นตัวประมวลผลคู่ขนานขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นจากหน่วยประมวลผลขนาดเล็ก

มีคุณสมบัติเพื่อเก็บสิ่งที่รับรู้ประสบการณ์ หรือ การกระทำ มีลักษณะคล้ายกับสมอง 2 ข้อ คือ
1. สิ่งที่รับรู้ได้มาโดย network ซึ่งได้ผ่านทางการกระบวนการการเรียนรู้
2. เซลล์ที่เชื่อมต่อถึงกัน เรียกว่า synaptic จะถูกใช้เพื่อเก็บสิ่งที่รับรู้เข้ามา

ที่มาของข้อมูล:
http://blogger.sanook.com/it6381/

แหล่งข้อมูลอื่น:
http://en.wikipedia.org/wiki/Neural_network
http://202.28.94.55/web/320417/2548/work1/g26/Files/Report_Neural%20Network.doc
http://www.geocities.com/pisitp/neural.htm

Course Description: รายวิชา CS Senior Project

1204307 Computer Science Senior Project 1
โครงงานทางวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ 1
หน่วยกิต 1 (0-2-0)
เงื่อนไขรายวิชา: ผ่านรายวิชาเอกไม่น้อยกว่า 60%
ระบบ SU


Course Description
การเลือกหัวข้อโครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์พร้อมทั้งเลือกอาจารย์ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญ เสนอเค้าโครงต่ออาจารย์ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญ คณะกรรมการ และจัดทำโครงงานและเขียนรายงานความก้าวหน้าในการศึกษาหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับโครงงานและขั้นตอนการวิเคราะห์และออกแบบการประมวลผลโครงงาน เสนอต่อกรรมการ เพื่อการพัฒนาต่อไปในโครงงาน 2

A project in an area of mutual interest to students and faculty members in the department. A written proposal and a progress of project are required and will be presented to the faculty members and interesting audiences.

------------------------------------------------------------------------------


1204404 Computer Science Senior Project 2

โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยกิต 3 (0-6-0)
ระบบ GD


Course Description
ให้นิสิตพัฒนาโครงงานตามที่ได้นำเสนอไว้ในวิชาโครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 1 แล้วนำเสนอผลการพัฒนาต่อคณะกรรมการที่ประกอบด้วยอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ/ผู้เชี่ยวชาญ และผู้สนใจ

Continuation of Senior Project 1. Students continue implementing their projects and presenting the project to the faculty members and interesting audiences.

Course Description: รายวิชา ICT Senior Project

1201307 Information and Communication Technology Senior Project 1
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1
หน่วยกิต 1 (0-2-0)
เงื่อนไขรายวิชา:
นิสิตจะต้องลงทะเบียนเรียนผ่านมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ภาคการศึกษา

ระบบ GD

Course Description
ฝึกให้นิสิตได้นำความรู้ที่ได้เรียนมาพัฒนาให้ได้ชิ้นงานที่ใช้งานได้จริง โครงงานอาจจะเป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาระบบสารสนเทศ หรือเป็นการศึกษาค้นคว้า และพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและนิสิตจะต้องรายงานความก้าวหน้าของงานต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเป็นระยะ ๆ และต้องจัดทำรายงานความก้าวหน้าของโครงงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาต่อในวิชาโครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2

Students can apply their knowledge to create a real world project that can be either business based application programming or research and development for the advance of the field. Students must report the progressof their work to their advisor periodically and must provide presentation and progressive reports of the system to be implemented in the Information and Communication Technology Senior Project 2 course.

------------------------------------------------------------------

1201401
Information and Communication Technology Senior Project 2
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2
หน่วยกิต 3 (0-6-0)
เงื่อนไขรายวิชา: 1201307
ระบบ GD

Course Description
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2 เป็นการดำเนินงานพัฒนาโครงงานจนกระทั่งเสร็จสมบูรณ์ โดยมีการจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์พร้อมการนำเสนอผลงาน

Students to implement their design and produce a complete work. Students will also need to submit the full report and present their work to their theses committees.

อาจารย์ผู้ดูแลรายวิชา Project เทอม 1/2552

อาจารย์ผู้ดูแลรายวิชา Project เทอม 1/2552

Beijing ผศ.
อ.ติ๋ม และ อ.สุชาติ

ผศ.
อ.แจ็ค และ อ.น้ำฝน

อาจารย์ผู้ดูแลรายวิชา Project เทอม 3/2551

อาจารย์ผู้ดูแลรายวิชา Project เทอม 3/2551

Beijing Beijing
อ.ก้อง และ อ.ติ๋ม

วันอาทิตย์ที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2552

แบบฟอร์มที่ใช้สำหรับการสอบ Senior Project










ปฏิทิน Senior Project

คลิกที่นี่เพื่อดูปฏิทิน Senior Project

update by MrOlarik

การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของอัลกอริทึมโครงข่ายประสาทเทียม และการแบ่งกลุ่มข้อมูลด้วยตัวเองในการรู้จำตัวอักษรลายมือเขียนภาษาไทย

โครงงานปริญญานิพนธ์
-การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของอัลกอริทึมโครงข่ายประสาทเทียม และการแบ่งกลุ่มข้อมูลด้วยตัวเองในการรู้จำตัวอักษรลายมือเขียนภาษาไทย
-Comparison of Effectiveness Between Artificial Neural Networks (ANN) and Self-Organizing Map (SOM) in Thai Handwritten Character Recognition

อ.ที่ปรึกษา
อ.โอฬาริก สุรินต๊ะ

ผู้จัดทำโครงงาน
นางสาวขนิษฐา รบไพรี
นางสาวขวัญนภา พิมพ์ชารีย์
สาขา CS

ขอบเขตของโครงงาน
1.1 พัฒนาระบบต้นแบบการรู้จำตัวอักษรลายมือเขียนโดย SOM
1.2 ตัวอักษรภาษาไทยที่ใช้ในการรู้จำ คือ
1.2.1 พยัญชนะ ทั้งหมด 44 ตัว
1.2.2 สระ ทั้งหมด 18 ตัว
1.2.3 วรรณยุกต์ ทั้งหมด 4 ตัว
1.3 ตัวเลขอารบิกที่ใช้ในการรู้จำทั้งหมด 10 ตัว (ตั้งแต่ 0 – 9)
1.4 ทดลองกับตัวอักษรภาษาอังกฤษ ทั้งหมด 26 ตัว (ตั้งแต่ a – z)
1.5 สามารถรับข้อมูลที่เป็นภาพสีจากเครื่องสแกน ภาพที่สร้างจากโปรแกรม Photoshop หรือ Paint Brush
1.6 ตัวอักษรที่เขียนสามารถเขียนบนกระดาษสีที่มีค่าสีแตกต่างจากสีหมึก ไม่มีลายเส้น ไม่เขียนเอียง ไม่เขียนตัวติดกัน ไม่มีรูปภาพประกอบ ไม่มีสัญญาณรบกวนในรูปแบบต่างๆ ใช้ปากกาสีเข้มในการเขียน เช่น สีแดง สีดำ สีน้ำเงิน เป็นต้น
1.7 หาคุณลักษณะพิเศษ (Feature Extraction) ได้แก่
1.7.1 การหาตำแหน่งหัวของตัวอักษรในแต่ละโซน
1.7.2 ตำแหน่งของจุดสิ้นสุดของตัวอักษรในแต่ละโซน
1.7.3 Cross Horizontal and Vertical Line
1.7.4 Horizontal and Vertical Scanning
1.7.5 Mark Direction
1.7.6 Chain Code
1.7.7 การหาความหนาแน่นภายในบล็อกตัวอักษร
1.8 นำข้อมูลคุณลักษณะพิเศษของตัวอักษรลายมือเขียนที่ได้จากข้อ 1.7 มาทดสอบประสิทธิภาพของอัลกอริทึม SOM ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเอง
1.9 นำข้อมูลคุณลักษณะพิเศษของตัวอักษรลายมือเขียนที่ได้จากข้อ 1.7 มาทดสอบประสิทธิภาพของ SOM โดยใช้เครื่องมืออื่น ๆ เช่น WEKA และเปรียบเทียบผลลัพธ์ว่าใกล้เคียงกันหรือไม่
1.10 เปรียบเทียบประสิทธิภาพการทำงานของอัลกอริทึม ANN และ SOM ภายใต้ชุดข้อมูลคุณลักษณะพิเศษชุดเดียวกัน
1.11 ประชากรกลุ่มตัวอย่าง 10 คน
1.12 แสดงผลการรู้จำตัวอักษรลายมือเขียนด้วยโปรแกรม Notepad

Dr.Richard Booth

Dr.Richard Booth


Mail: richard.b@msu.ac.th

อ.โสภณ เสือแก้ว

อ.โสภณ เสือแก้ว

Tel: 0850177370
Mail: prasertsri_so@hotmail.com
สังกัด: GIs

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

อ.สาธิต แสงประดิษฐ์

อ.สาธิต แสงประดิษฐ์ (อ.กระรอก)


Tel: 0891713836
Mail: satith.s@msu.ac.th
สังกัด: GIs

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

อ.ธีรญา อุทธา

อ.ธีรญา อุทธา (อ.นุ่น)

Tel: 0815925460
Mail: theeraya.u@msu.ac.th
สังกัด: GIs

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

อ.โสภณวิชญ์ คำพิลัง

อ.โสภณวิชญ์ คำพิลัง (อ.โจ๊ต)

Tel:
Mail: sopholwit.c@msu.ac.th
สังกัด: GIs

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Spatial modeling
GIS database
Environmental monitoring
Land use change detection
Aerial photo
Satellite image interpretation and image classification
Urban risk
Network analysis

อ.พิมลรัตน์ อ้วนศรีเมือง

อ.พิมลรัตน์ อ้วนศรีเมือง (อ.ต่าย)



Tel: 0860842330
Mail: pimaolrat.a@msu.ac.th
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Software Engineering

อ.ธวัชวงศ์ ลาวัลย์

อ.ธวัชวงศ์ ลาวัลย์ (อ.เบียร์)



Tel: 0834066671
Mail: thawatwong@msu.ac.th
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Computer Network

อ.พชระ พฤกษะศรี

อ.พชระ พฤกษะศรี (อ.เอ็ม)


Tel: 0817399459
Mail: potchara.p@msu.ac.th
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

อ.จันทิมา พลพินิจ

อ.จันทิมา พลพินิจ (อ.เจี๊ยบ)


Tel: 0816570198
Mail: jantima.p@msu.ac.th
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

อ.พรทิวา ปะวะระ

อ.พรทิวา ปะวะระ (อ.พราย)
























Tel:
0897768965
Mail: pornntiwa.p@msu.ac.th
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Mobile Application
Game Programming
Human Computer Interaction
Robotics
Computer Graphic

อ.พัฒนพงษ์ ชมภูวิเศษ

อ.พัฒนพงษ์ ชมภูวิเศษ (อ.โจ)


Tel: 0866263342
Mail: phatthanaphong.c@msu.ac.th
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

อ.อุมาภรณ์ สายแสงจันทร์

อ.อุมาภรณ์ สายแสงจันทร์ (อ.เอ็กซ์)



Tel: 0815454847
Mail: umaporn@msu.ac.th
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

อ.พนิดา ทรงรัมย์

อ.พนิดา ทรงรัมย์ (อ.จิ๊ก)

Tel: 0891462923
Mail: panida.s@msu.ac.th
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

อ.ณภัทร สักทอง

อ.ณภัทร สักทอง

Tel: 0811830084
Mail: napat.s@msu.ac.th
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

อ.รพีพร ช่ำชอง

อ.รพีพร ช่ำชอง



Tel: 0872211262
Mail: rapeeporn.c@msu.ac.th
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

อ.ฉัตรเกล้า เจริญผล

อ.ฉัตรเกล้า เจริญผล (อ.เต้)







Tel: 0862255574
Mail: chatklaw.j@msu.ac.th
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Neural Network
Hyper-Redundant Robotics
Obstacle Avoidance Methods
Snake Robotics
Web Application

ดร.สมนึก พ่วงพรพิทักษ์

ดร.สมนึก พ่วงพรพิทักษ์


Tel: 0894532159
Mail: somnuk.p@msu.ac.th
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Network Simulation
Computer Network
IT Security
Open Source Technology
Information Technology Management

อ.ธวัชชัย ชมศิริ

อ.ธวัชชัย ชมศิริ (อ.กลาง)



Tel: 0814019995
Mail: thawatchai@msu.ac.th
สังกัด: MIS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

อ.วิวัฒน์ ศรีภูมิ

อ.วิวัฒน์ ศรีภูมิ (อ.แจ็ค)



Tel: 0812072156, 0854952243
Mail: swiwat@yahoo.com
สังกัด: MIS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

รศ.วิรัตน์ พงษ์ศิริ

รศ.วิรัตน์ พงษ์ศิริ



Tel: 0818711778
Mail: wirat@msu.ac.th
สังกัด: MIS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

วันเสาร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2552

อ.ชุมศักดิ์ สีบุญเรือง

อ.ชุมศักดิ์ สีบุญเรือง

ผศ.
Tel: 0819758181
Mail: chumsak.s@msu.ac.th
สังกัด: MIS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Image Processing
Information Retrieval
Systems Analysis and Design
Advanced E-Commerce
Data Mining

อ.เดชสิทธิ์ พรรษา

อ.เดชสิทธิ์ พรรษา (อ.โบว์)

ผศ.

Tel: 0816613601
Mail: detchasit@msu.ac.th
สังกัด: MIS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Computer Network
Web Application
Application

อ.นัฐธริยา เหล่าประชา

อ.นัฐธริยา เหล่าประชา (อ.น้ำฝน)

ผศ.

Tel: 0897121676
Mail: natthariya.l@msu.ac.th
สังกัด: MIS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Image Processing
Artificial Intelligence
Neural Network
Information Retrieval
Systems Analysis and Design

อ.วุฒิชัย วิเชียรไชย

อ.วุฒิชัย วิเชียรไชย (อ.ปอ)

ผศ.

Tel: 0847049442
Mail: onizuka.p@gmail.com
สังกัด: MIS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
วิเคราะห์ระบบงาน
ออกแบบฐานข้อมูล
Programming
Information Retrieval
Decision Support Systems
ความรู้ในด้านเกษตรโดยรวมกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้ในด้านวิศวกรรมโดยรวมกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Nano Technology

อ.ธนันชัย คำเกตุ

อ.ธนันชัย คำเกตุ (อ.บอย)

ผศ.

Tel: 0897123827
Mail: thannachai.k@msu.ac.th
สังกัด: MIS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Web Services
Web Application
CRM
Logistic
ERP

อ.นุชนาฎ บัวศรี

อ.นุชนาฎ บัวศรี (อ.แจน)
ผศ.

Tel: 0897123201
Mail: nutchanat.b@msu.ac.th
สังกัด: GIs

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
ภูมิศาสตร์
การทำแผนที่
การประมวลผลภาพถ่าย
การทำแผนที่ภาษี
การจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่
ระบบฐานข้อมูล

อ.สุชาติ คุ้มมะณี

อ.สุชาติ คุ้มมะณี

ผศ.

Tel: 0848755582
Mail: suchart.k@msu.ac.th
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Computer Network and Data Communications
Intelligence Networking
Embedded System
Operating System
Open Source Technology
Computer Sceurity

อ.ฉัตรตระกูล สมบัติธีระ

อ.ฉัตรตระกูล สมบัติธีระ (อ.ตุ้ย)

ผศ.

Tel: 0878527579
Mail: chattrakul.s@msu.ac.th
สังกัด: MIS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Multi-Agent System
Game Theory
Web Services
Advanced e-Commece
Resource Allocation
Logistic/Transportation

ผศ.ดร.จิรัฏฐา ภูบุญอบ

ผศ.ดร.จิรัฏฐา ภูบุญอบ (อ.จิ)

ผศ.

Tel: 0892759797
Mail: jiratta.p@msu.ac.th
สังกัด: MIS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Data Warehouse
Data Mining

ขั้นตอนการทำ Senior Project

ขั้นตอนการทำ Senior Project

1. หาอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานปริญญานิพนธ์

เมื่อได้ที่ปรึกษาให้ส่งแบบฟอร์ม CSMIS-P01 มายังอ.ผู้ดูแลรายวิชาโครงงาน

2. ดำเนินการสอบ Proposal
2.1 นิสิตต้องยื่นแบบฟอร์ม CSMIS-P02 และ CSMIS-P03 มายังอ.ผู้ดูแลรายวิชาโครงงาน (เพื่อจัดตารางสอบ Proposal ให้แก่นิสิต)
2.2 เมื่อนิสิตสอบ Proposal เสร็จ
2.2.1 กรณี สอบผ่าน ให้นิสิตส่งแบบฟอร์ม CSMIS-P03 มายังอ.ผู้ดูแลรายวิชาโครงงานเพื่อเป็นการยืนยันผลการสอบของนิสิต และให้นิสิตแก้ไขเอกสารตามคำแนะนำของประธานสอบให้สมบูรณ์ จากนั้นส่งเอกสารฉบับสมบูรณ์พร้อมแบบฟอร์ม CSMIS-P05 มายังอ.ผู้แดแลรายวิชาโครงงาน
2.2.2 กรณี สอบไม่ผ่าน ให้นิสิตแบบฟอร์ม CSMIS-P03 มายังอ.ผู้ดูแลรายวิชาโครงงานเพื่อเป็นการยืนยันผลการสอบของนิสิต

3. ลงทะเบียนวิชา Project1
3.1 ถ้านิสิตไม่ลงทะเบียน Project1 นิสิตจะไม่ได้รับสิทธิในการสอบ Project1
3.2 นิสิตต้องยื่นแบบฟอร์ม CSMIS-P02, CSMIS-P03 และ CSMIS-P06 มายังอ.ผู้ดูแลรายวิชาโครงงาน (เพื่อจัดตารางสอบ Project1 ให้แก่นิสิต)
3.3 เมื่อนิสิตสอบ Project1 เสร็จ
3.3.1 กรณี สอบผ่าน ให้นิสิตส่งแบบฟอร์ม CSMIS-P03, CSMIS-P06 มายังอ.ผู้ดูแลรายวิชาโครงงานเพื่อเป็นการยืนยันผลการสอบของนิสิต และให้นิสิตแก้ไขเอกสารตามคำแนะนำของประธานสอบให้สมบูรณ์ จากนั้นส่งเอกสารฉบับสมบูรณ์พร้อมแบบฟอร์ม CSMIS-P05 มายังอ.ผู้แดแลรายวิชาโครงงาน เพื่อให้อ.ผู้ดูแลรายวิชาโครงงานตรวจสอบรูปแบบให้ถูกต้อง
3.3.2 กรณี สอบไม่ผ่าน ให้นิสิตแบบฟอร์ม CSMIS-P03, CSMIS-P06 มายังอ.ผู้ดูแลรายวิชาโครงงานเพื่อเป็นการยืนยันผลการสอบของนิสิต

4. ลงทะเบียนวิชา Project2
4.1 ถ้านิสิตไม่ลงทะเบียน Project2 นิสิตจะไม่ได้รับสิทธิในการสอบ Project2
4.2 นิสิตต้องยื่นแบบฟอร์ม CSMIS-P02, CSMIS-P03 และ CSMIS-P07 มายังอ.ผู้ดูแลรายวิชาโครงงาน (เพื่อจัดตารางสอบ Project2 ให้แก่นิสิต)
4.3 เมื่อนิสิตสอบ Project2 เสร็จ
4.3.1 กรณี สอบผ่าน ให้นิสิตส่งแบบฟอร์ม CSMIS-P03, CSMIS-P07 มายังอ.ผู้ดูแลรายวิชาโครงงานเพื่อเป็นการยืนยันผลการสอบของนิสิต และให้นิสิตแก้ไขเอกสารตามคำแนะนำของประธานสอบให้สมบูรณ์ จากนั้นส่งเอกสารฉบับสมบูรณ์พร้อมแบบฟอร์ม CSMIS-P05 มายังอ.ผู้แดแลรายวิชาโครงงาน เพื่อให้อ.ผู้ดูแลรายวิชาโครงงานตรวจสอบรูปแบบให้ถูกต้อง นิสิตจึงจะสามารถส่งเล่มสีน้ำเงิน จำนวน 3 เล่มได้
4.3.2 กรณี สอบไม่ผ่าน ให้นิสิตแบบฟอร์ม CSMIS-P03, CSMIS-P07 มายังอ.ผู้ดูแลรายวิชาโครงงานเพื่อเป็นการยืนยันผลการสอบของนิสิต

อ.สำรวน เวียงสมุทร

อ.สำรวน เวียงสมุทร

Beijing

Tel: 0847861867
Mail: ruan2499@hotmail.com
สังกัด: CS

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ
Image Processing
RFID
Neural Network

ปิยธิดา อภิรักษ์สัตยา

ปิยธิดา อภิรักษ์สัตยา (พี่เนส)
เจ้าหน้าที่ประสานงานสาขา MIS

Beijing

Tel: 0810506663

ติดต่อเรา

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (CS) และสาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS)
คณะวิทยาการสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

อาคารวิทยบริการ B
ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย
จ.มหาสารคาม 44150


View Faculty of Informatics in a larger map